โรคที่สำคัญในสุกร โรคติดเชื้อ โรคไม่ติดเชื้อ ปัญหาที่เกิดจากการจัดการผิดพลาด การตรวจวินิจฉัย การรักษา การควบคุม และการป้องกันโรค การใช้ยา และการทำวัคซีนในฟาร์มสุกร ความปลอดภัยทางชีวภาพในฟาร์มสุกร

การตรวจวินิจฉัย การวางแผนการรักษา การฝึกปฏิบัติหัตถการทางศัลยกรรม การดูแลสัตว์หลัง
การผ่าตัด ภาวะแทรกซ้อนหลังการท าศัลยกรรมเนื้อเยื่ออ่อนในสุนัขและแมว

... only use in special case ..

การใช้ยาสลบ และการผ่าตัดทางสัตวแพทย์ เทคนิคการทำให้ปลอดเชื้อ การเย็บแผล การห้ามเลือด แผลและการรักษา สารน้ำบำบัดทางศัลยกรรม การใช้อุปกรณ์พิเศษต่าง ๆ ทางศัลยกรรม

การจำแนกชนิด    กายสัณฐานวิทยาและวงจรชีวิตของหนอนพยาธิ หนอนพยาธิที่สำคัญในสัตว์ การตรวจวินิจฉัย การรักษาและการป้องกัน ระบาดวิทยาของหนอนพยาธิทางสัตวแพทย์และสาธารณสุขศาสตร์


การจำแนกชนิด    กายสัณฐานวิทยาและวงจรชีวิตของหนอนพยาธิ หนอนพยาธิที่สำคัญในสัตว์ การตรวจวินิจฉัย การรักษาและการป้องกัน ระบาดวิทยาของหนอนพยาธิทางสัตวแพทย์และสาธารณสุขศาสตร์


หลักการทางเทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับสัตว์ ชีวโมเลกุลของเซลล์และการใช้ประโยชน์จากพันธุวิศวกรรม ชีวโมเลกุลทางพันธุกรรมที่ใช้ในการผลิต ดูแลสุขภาพสัตว์ วินิจฉัยโรคสัตว์ รวมถึงเทคโนโลยีเพื่อการเพาะขยายพันธุ์สัตว์

กระบวนการวิจัยเบื้องต้นและการนำเสนอผลงาน แนวคิดรวมถึงกระบวนการวิจัย การออกแบบการวิจัยและการทบทวนวรรณกรรม การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยทางสัตวแพทย์ การรายงานความก้าวหน้า การเขียนรายงานผลการวิจัย และการนำเสนอที่มีประสิทธิภาพ


การจำแนกชนิดการหัก  การตรวจวินิจฉัยและการรักษาทางศัลยกรรมของกระดูก  เส้นเอ็น  และข้อต่อในสัตว์เลี้ยง  การพันขาและการเข้าเฝือก  การเชื่อมของกระดูก  พื้นฐานการใช้แกนดามเหล็ก  การผูกลวด  แผ่นดามเหล็ก  และสกรู  ความผิดปกติของระบบกระดูก  เส้นเอ็น  และข้อต่อที่สำคัญในสัตว์เลี้ยง

ความรู้เบื้องต้นของเภสัชวิทยาทางสัตวแพทย์  เภสัชจลนศาสตร์  เภสัชพลศาสตร์ อันตรกิริยาของยา  การดื้อยา  ปฏิกิริยาไม่พึงประสงค์ของยา  ผลข้างเคียงหรือพิษที่อาจเกิดจากการใช้ยา  ยาต้านจุลชีพ  ยาลดอักเสบ  การเขียนใบสั่งยา  วิถีการบริหารยาในสัตว์เลี้ยงและปศุสัตว์

โครงสร้างพื้นฐานของเซลล์  สรีรวิทยาของเซลล์  ลักษณะทางจุลกายวิภาคศาสตร์   ทางเยื่อบุผิว เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน  และต่อม  ศึกษาเปรียบเทียบมหกายวิภาคศาสตร์    จุลกายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา  และกลไกการทำงานของระบบกระดูก กล้ามเนื้อ ข้อต่อ และระบบย่อยอาหารในสัตว์ชนิดต่าง ๆ   การประยุกต์ใช้ทางคลินิก

ความหมาย ขอบเขต และความสำคัญของรายวิชาชีววิทยาทางสัตวแพทย์ โครงสร้างและการทำงานของเซลล์ การแบ่งเซลล์ การควบคุมการทำงานของเซลล์ เนื้อเยื่อ การจำแนกกลุ่มในอาณาจักรสัตว์ กายวิภาคและสรีรวิทยาของระบบอวัยวะในสัตว์กลุ่มต่าง ๆ


อันตรายทางกายภาพ เคมี และจุลินทรีย์ในอาหาร  ความสำคัญและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ในอาหาร การปนเปื้อนของอันตรายทางกายภาพ เคมี และจุลินทรีย์ในอาหารที่ทำมาจากสัตว์ เกณฑ์มาตรฐานความปลอดภัยทางอาหาร จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคติดต่อทางอาหาร  การถนอมอาหาร  หลักการทั่วไปของการวิเคราะห์อันตรายและการควบคุมจุดวิกฤต การประเมินความเสี่ยงในกระบวนการผลิตอาหาร


การจำแนกประเภท  รูปร่าง การเจริญเติบโต ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและการเพิ่มจำนวนของแบคทีเรียและเชื้อรา กลไกการเข้าสู่ร่างกายของแบคทีเรียและเชื้อรา การพยาธิสภาพและการตอบสนองของร่างกายโฮสต์ต่อการติดเชื้อแบคทีเรียและเชื้อรา โรคหรือปัญหาด้านสุขภาพที่สำคัญในสัตว์เลี้ยงและปศุสัตว์ที่มีสาเหตุจากแบคทีเรียและเชื้อรา พยาธิกำเนิด อาการสำคัญ การวินิจฉัย และการควบคุมป้องกันโรค

หลักการและวิธีการตรวจวินิจฉัยเบื้องต้น การตรวจวินิจฉัยโรคทางห้องปฏิบัติการ โรคทางคลินิก  อาการทางคลินิก  อาการทางระบบต่างๆ ที่พบทั่วไป  ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับอวัยวะในระบบนั้นๆ  การรักษาและการป้องกันโรค

หลักพื้นฐานของวิทยาเอมบริโอทางสัตวแพทย์  การเปรียบเทียบมหกายวิภาคศาสตร์   จุลกายวิภาคศาสตร์  สรีรวิทยา  และกลไกการทำงานของระบบห่อหุ้มร่างกาย ระบบสืบพันธุ์ และระบบต่อมไร้ท่อของสัตว์ชนิดต่าง ๆ   การประยุกต์ใช้ทางคลินิก

โครงสร้างและคุณสมบัติของไวรัส การจัดจำแนก การเพิ่มจำนวน การก่อให้เกิดโรค ตลอดจนการเพาะเลี้ยง และการตรวจหาเชื้อไวรัสของสัตว์ ระบาดวิทยาของโรคติดเชื้อไวรัสที่สำคัญในทางสัตวแพทย์ การป้องกัน และการใช้วัคซีน


วิชาพยาธิวิทยาเฉพาะระบบทางสัตวแพทย์ ประกอบด้วยเนื้อหา ดังนี้

บทนำและการทบทวนพื้นฐานทางพยาธิวิทยา   พยาธิวิทยาของหัวใจและระบบไหลเวียนของโลหิต   พยาธิวิทยาของระบบอวัยวะสร้างเม็ดเลือด  พยาธิวิทยาของระบบหายใจ  พยาธิวิทยาของระบบทางเดินอาหาร ตับและตับอ่อน  พยาธิวิทยาของระบบสืบพันธุ์เพศเมียและต่อมน้ำนม  พยาธิวิทยาของระบบสืบพันธุ์เพศผู้   พยาธิวิทยาของระบบขับถ่ายปัสสาวะ  พยาธิวิทยาของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ  พยาธิวิทยาของระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกพิเศษ        พยาธิวิทยาของระบบต่อมไร้ท่อ พยาธิวิทยาของระบบผิวหนัง 

หลักเบื้องต้นของรังสีวิทยา และรังสีวินิจฉัย อันตรายและการป้องกันอันตรายจากรังสี เทคนิคการถ่ายภาพรังสีในสัตว์ ความรู้เบื้องต้นด้านอัลตราซาวด์ เพื่อวินิจฉัยโรคทางสัตวแพทย์ และหลักการเบื้องต้นของรังสีรักษาทางสัตวแพทย์

โรคที่พบบ่อยที่เกิดจากการติดเชื้อและไม่ติดเชื้อ ปัญหาทางศัลยกรรม และปัญหาทางระบบสืบพันธุ์ของสัตว์เลี้ยง ตลอดจนการตรวจวินิจฉัย การรักษาและการควบคุมป้องกัน

โครงสร้างและการทำงานของระบบสืบพันธุ์  ฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับระบบสืบพันธุ์  การรีดเก็บน้ำเชื้อ  การตรวจคุณภาพน้ำเชื้อ  การเจือจางและเก็บรักษาน้ำเชื้อ  การผสมเทียม  ความไม่สมบูรณ์พันธุ์  ปัจจัยที่มีผลต่อระบบสืบพันธุ์

การทำงานของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ทั้งระดับเซลล์และระดับร่างกาย ภูมิแพ้ กลไกของภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อ ภูมิคุ้มกันต่อเนื้องอก รวมทั้งโรคของระบบภูมิคุ้มกัน และวิธีการตรวจสอบทางระบบภูมิคุ้มกันในห้องปฏิบัติการ

พฤติกรรมการสืบพันธุ์  โครงสร้างและการทำงานระบบสืบพันธุ์เพศเมียและเพศผู้ วงรอบการเป็นสัดและการตรวจสัด การเหนี่ยวนำการเป็นสัด  การประเมินความสมบูรณ์พันธุ์ การรีดเก็บและการประเมินคุณภาพน้ำเชื้อ การผสมเทียม  การตั้งท้อง การคลอด การย้ายฝากตัวอ่อน  การปฏิสนธินอกตัวสัตว์และการโคลนนิ่ง

บทนำ บทบาทของสัตวแพทย์ในด้านสาธารณสุข การจำแนกโรคสัตว์ติดคน หลักการควบคุมและป้องกันโรค โรคสัตว์ติดคนที่เกิดจากเชื้อไวรัส แบคทีเรีย ริกเก็ตเซีย ปรสิต โรคสัตว์ติดคนที่เกิดจากสาเหตุอื่นๆ อุบัติการณ์ของโรคเกิดใหม่ สุขศาตร์สิ่งแวดล้อม 

ทักษะ ฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาอังกฤษ โดยเน้นศัพท์เฉพาะทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อประยุกต์ใช้ในงานวิชาชีพ

การฝึกทักษะทางคลินิกในสัตว์น้ำ ภายใต้การดูแลของคณาจารย์ หรืออาจารย์พิเศษจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง   

  • การตรวจและประเมินสภาพสิ่งแวดล้อมสำหรับสัตว์น้ำเศรษฐกิจและสวยงาม
  • การตรวจประเมินสภาพร่างกายในสัตว์น้ำเศรษฐกิจและสวยงาม
  • การประเมินประสิทธิภาพการผลิตในสัตว์น้ำเศรษฐกิจและสวยงาม
  • การเก็บตัวอย่างสิ่งแวดล้อมและการตรวจในห้องปฏิบัติการ
  • การเก็บและตรวจตัวอย่างเลือด เนื้อเยื่อ และหนอนพยาธิ
  • การวินิจฉัยโรคในสัตว์น้ำเศรษฐกิจและสวยงาม
  • การแก้ปัญหาคุณภาพน้ำ
  • การให้ยาในสัตว์น้ำ
  • การรักษาสัตว์น้ำสวยงามและสัตว์น้ำชนิดพิเศษ
  • การรักษาสัตว์น้ำสำหรับการค้า
  • การจัดการในฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
  • การจัดการในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ

การฝึกทักษะทางคลินิก การรักษาทางอายุรกรรมและทางศัลยกรรม การป้องกันและการควบคุมโรค

การควบคุมและวางยาสลบสัตว์ป่าในสัตว์สวนสัตว์ สัตว์ป่า และสัตว์เลี้ยงชนิดพิเศษ

ระบาดวิทยาของโรคติดเชื้อและโรคที่ไม่ติดเชื้อในสัตว์  ความสัมพันธ์ของตัวสัตว์และสิ่งก่อโรค การเกิดโรค และปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรค การวัดขนาดของการเกิดโรค ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่คาดว่าจะเป็นสาเหตุกับการเกิดโรค การใช้สถิติในงานระบาดวิทยา รูปแบบการศึกษาทางระบาดวิทยา การตรวจคัดกรองและการตรวจวินิจฉัยโรค การสอบสวนโรค การเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรค